ชาวยูเครนในไทยรวมตัวร้องสันติภาพหน้าสถานฑูตรัสเซีย

ชาวยูเครนในไทยรวมตัวร้องสันติภาพหน้าสถานฑูตรัสเซีย

ประชาชนชาวยูเครนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย รวมตัวกันจัดกิจกรรมที่ฝั่งตรงข้ามสถานเอกอัครราชทูตรัสเซียประจำประเทศไทย วันนี้ (25 ก.พ. 65) ประชาชนชาวยูเครนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย รวมตัวกันจัดกิจกรรมที่ฝั่งตรงข้าม สถานเอกอัครราชทูตรัสเซีย ประจำประเทศไทย เพื่อแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ พร้อมชูป้ายข้อความเรียกร้องสันติภาพ ไม่ให้ใช้ความรุนแรง หรือสร้างสงครามในยูเครน

โดยอ้างอิงข้อมูลจาก เวลาราวๆ 15.00 น. บัญชีทวิตเตอร์ เฟมินิสต์ปลดแอก (เฟมทวิต) 

ระบุ ผู้ชุมนุมชาวยูเครนยืนยัน ว่า “จะอยู่ที่สถานทูตฯ ให้นานที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้” !! สามารถมาร่วมสนับสนุนการต่อสู้ของชาวยูเครนในไทยได้ที่ สถานทูตสหพันธรัฐรัสเซีย ตอนนี้ได้เลย !

ขณะที่ ชาวยูเครนซึ่งพำนักที่ประเทศไทยคนหนึ่งได้กล่าวกับ The Rreporters โดยพูดถึงสถานการณ์การสู้รบในปัจจุบันไม่ได้จำกัดอยู่เพียงชายแดนรัสเซีย

“สิ่งที่ประธานธิบดีปูตินกระทำลงไปมันบ้าระห่ำมาก มีผู้เสียชีวิตนับร้อยคนไม่ใช่เพียงอาคารทางทหารที่เสียหาย แต่ยังกระทบมาถึงบ้านเรือนประชาชน ผมจึงอยากร้องเรียนให้เขายุติสงครามและคืนสานติภสพให้กับยูเครนในทัยที” ชายชาวยูเครน ระบุ

คณะมนตรีแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Council – NAC) เป็นองค์กรหลักรับผิดชอบต่อการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ของนาโต้ที่เกี่ยวกับการตีความสนธิสัญญาและการนำไปปฏิบัติ คณะมนตรีฯ ประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของประเทศสมาชิก มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง

สำนักงานเลขาธิการนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม มีหน้าที่บริหารงานทั่วไปขององค์กร รวมถึงการวางแผนนโยบาย หัวหน้า สนง. / เลขาธิการนาโต้ คนปัจจุบัน คือ นาย Jaap de Hoop Scheffer (อดีต รมว. กต. เนเธอร์แลนด์) เข้ารับตำแหน่งเมื่อปี 2547

คณะกรรมาธิการทางทหาร (The Military Committee) มีหน้าที่ให้คำแนะนำด้านการทหารแก่คณะมนตรีและผู้บัญชาการกองกำลังผสม ประกอบด้วยเสนาธิการทหารของทุกประเทศภาคี ยกเว้นฝรั่งเศส และไอซ์แลนด์ (ซึ่งไม่มีกำลังทหาร) มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยนาโต้ได้แบ่งเขตยุทธศาสตร์ตามภูมิศาสตร์เป็น 3 เขต คือ

เขตยุโรป (The European Command) อยู่ภายใต้การดูแลของผู้บัญชาการกองกำลังผสมยุโรป (Supreme Allied Commander Europe – SACEUR) โดยมีกองบัญชาการ เรียกว่า Supreme Headquaters Allied Powers Europe (SHAPE) ประกอบด้วยกองกำลังเคลื่อนที่เร็วจากประเทศสมาชิก ซึ่งพร้อมจะปฏิบัติการได้ทันที เขตการรับผิดชอบ คือ แอฟริกาเหนือ เมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และยุโรปเหนือ ยกเว้นโปรตุเกส และสหราชอาณาจักร SHAPE มีกองบัญชาการย่อยในยุโรปเหนือที่เมืองโคสชัส ประเทศนอร์เวย์ ในยุโรปกลางที่เมืองบรุนส์ชุน ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในยุโรปใต้ที่เมือง Naples ประเทศอิตาลี

เขตแอตแลนติก (The Atlantic Ocean Command) อยู่ภายใต้การดูแลของ Supreme Allied Commander Atlantic (SACLANT) เขตการรับผิดชอบตั้งแต่ขั้วโลกเหนือถึงเส้น Tropic of Cancer และจากฝั่งสหรัฐอเมริกาถึงยุโรป SACLANT มีหน้าที่หลักในการพิทักษ์เส้นทางเดินเรือในเขตแอตแลนติก ซึ่งเน้นลักษณะการปฏิบัติการกองกำลังทัพเรือแอตแลนติก (Standing Naval Force Atlantic — STANA RR LNT) มีกองบัญชาการตั้งอยู่ที่ Norfolk สหรัฐฯ

สมาชิกนาโต้ มีกี่ประเทศ

หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2543 บรรดาเหล่าสมาชิกองค์การสนธิสัญญาวอร์ซอว์ ก็ได้หันเหทิศทางมาเข้าร่วมกับนาโต้ จึงทำให้ปัจจุบันนาโต้มีสมาชิกทั้งหมด 30 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร แคนาดา เบลเยียม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปรตุเกส กรีซ ตุรกี เยอรมนี สเปน เช็ก ฮังการี โปแลนด์ บัลแกเรีย เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย สโลวาเกีย สโลวีเนีย โรมาเนีย อัลบาเนีย โครเอเชีย มอนเตเนโกร และมาซิโดเนียเหนือ

ไทยเป็นสมาชิกนาโต้หรือไม่ เมื่อวันที่ 19 ต.ค. 2546 ในระหว่างการเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ประธานาธิบดีจอร์จ บุช แห่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศให้ไทยเป็น “ชาติพันธมิตรหลักนอกกลุ่มนาโต้” (Major Non-NATO Ally — MNNA)

การได้รับสถานะดังกล่าวไม่ได้หมายถึงการมีหลักประกันด้านความมั่นคงและการป้องกันประเทศร่วมกันเช่นเดียวกับที่สหรัฐฯ มีกับประเทศสมาชิกนาโต้ แต่เป็นการแสดงให้เห็นถึงความสำคัญที่สหรัฐฯ ให้แก่ความสัมพันธ์ในลักษณะพันธมิตรกับประเทศไทยในศตวรรษที่ 21

หายสงสัยกันแล้วใช่ไหมเอ่ยว่า สมาชิกนาโต้ มีกี่ประเทศ แล้วนาโต้มีบทบาทอะไรในประชาคมโลกและประเทศไทย ซึ่งในวิกฤตสงครามระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ในครั้งนี้ แม้ว่ายูเครนเองจะเป็นเพียงประเทศหุ้นส่วนไม่ใช่สมาชิกนาโต้อย่างจริงจัง แต่ก็ต้องจับตาดูกันต่อไปว่านาโต้จะออกมามีบทบาทอย่างไรกับข้อขัดแย้งระหว่างทั้งสองประเทศ

Credit : แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว | แต่งบ้านและสวน | พระเครื่อง | รีวิวกล้องถ่ายรูป